วันศุกร์ที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2554

ครั้ง13

วันอังคารที่27กันยายน2554


การจัดประสบกาณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย


1.ความหมาย


2.ความสำคัญ


3.หลักการจัด


4.ทักษะทางวิทยาศาสตร์-สื่อความหมาย,แปลความหมาย,สังเกต,จำแนก


5.ประโยชน์


6.วิธีการประดิษฐ์ของเล่นวิทยาศาสตร์(สื่อ)-มุมเล่นเสรี


7.กิจกรรม-กระบวนการทดลอง/ศึกษานอกสถานที่/การสาธิต


8.การบูรณาการ


9.การเขียนโครงการ-เหตุและผล


10.การเขียนแผน


11.สาระ


12.ประสบการณ์สำคัญ


13.พัฒนาการ(ความสามารถของเด็ก)จัดให้เหมาะสมกับความสามารถของเด็กในช่วงอายุ เด็กแต่ละคนมีความสามารถไม่เท่ากัน


14.วิธีการเรียนรู้


การประเมินผล-สังเกตและบันทึก/สนทนาซักถาม/ตัวผลงาน/แฟ้มสะสมงาน

วันศุกร์ที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2554

ครั้งที่12

วันอังคารที่ 20 กันยายน 2554


ทบทวนการเขียนแผน
การที่เราจะรู้ว่าสอนอะไรต้องดูที่
1.หลักสูตร
2.เนื้อหา/สาระ
3.เข้าสู่วันที่จะทำกิจกรรม
4.กิจกรรมคือ เคลื่อนไหว /ศิลปะสร้างสรรค์/เล่นเสรี/เสริมประสบการณ์/กิจกรรมกลางแจ้ง/เกมการศึกษา

วันพุธที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2554

ครั้งที่11

วันอังคารที่ 13 กันยายน 2554
สาระคือ > เนื้อหาที่สำคัญ ได้แก่
-สิ่งแวดล้อมรอบตัว สิ่งที่สัมผัส สิ่งที่มีผลกระทบกับสิ่งมีชีวิต
-สิ่งที่เด็กอยากรู็
1.สิ่งที่เกี่ยวข้องกับเด็ก คือ ชื่อ รูปร่างหน้าตาส่วนต่างๆ
2.บุคคลและสถานที่ คือ ครอบครัวญาติพี่น้อง ชุมชน สังคม
3.ธรรมชาติรอบตัว คือ วัตถุสิ่งของ เครื่องใช้ ของเล่น

สมรรถณะ
-กาย คือ เรื่องการเล่นเครื่องเล่นสานม
-อารมณ์ คือ ดนตรี เพลง
-สังคม คือ การช่วยเหลือตัวเอง
-สติปัญญา แยกเป็นภาษา คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สร้างสรรค์
วิทยาศาสตร์ ได้แก่การทดลอง การสำรวจ การสังเกตุ

บูรณาการทักษะวิทยาศาสตร์กับสาระ
1.ศลปะสร้างสรรค์
2.เกมการศึกษา
3.การเล่นเสรี
4.การเคลื่อนไหวและจังหวะ
5.กิจกรรมการแจ้ง
6.เสริมประสบการณ์
กิจกรรมเสริมประสบการณ์เป็นกิจกรรมที่ทำให้เกิดกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

วันพฤหัสบดีที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2554

ครั้งที่10

วันอังคารที่ 6 กันยายน 2554
การทำ มายแม็บ
ชื่อหน่วย แตกออกมาเป็นหน่วยย่อยๆ
ดูซีดี เรื่อง ความลับของแสง

ถ้าแสงมีความสำคัญถ้ารอบๆตัวเราไม่มีแสงเราก็จะมองอะไรไม่เห็นที่เรามองเห็นได้ก็เพราะมีแสงสว่าง แสงเป็นคลื่นชนิดหนึ่งเหมือนทะเล มีการเคลื่อนที่ได้เร็วมาก
การทดลองว่าทำไมแสงถึงช่วยให้เรามองเห็น
1.กล่องใบใหญ่เจาะรูข้างกล่อง 1 รู นำตุ๊กตามาใส่ในกล่องแล้วปิดฝา เมื่อมองเข้าไปข้างในมืดสนิท มองไม่เห็นอะไรเลย
2.จากนั้นเปิดฝากล่องออก ทำให้เห็นตุ๊กตาภายในกล่อง
3.เปิดฝากล่องเจาะรูเพิ่มอีก 1 รู แล้วปิดฝากล่องใช้ไฟฉายส่องเข้าไปทำให้มองเห็นตุ๊กตาได้
ที่เราสามารถมองเห็นตุ๊กตาได้ก็เพราะว่าแสงสะท้อนของวัตถุนั้นสะท้อนเข้าตาเรา ทำให้เรามองเห็นวัตถุนั้นได้

นอกจากแสงสว่างจะช่วยให้เรามองเห็นสิ่งต่างๆแล้ว ยังทำประโยชน์ให้กับมนุษย์อีกมากมาย
การเดินทางของแสง แสงเดินทางเป็นเส้นตรงอย่างเดียว
มีวัตถุบางชนิดที่แสงส่องผ่านไปได้ มี 2 รูปแบบ
-แบบแรก แสงจะทะลุผ่านไปได้และสะท้อนกลับมา เราเรียกว่า วัตถุโปร่งแสง
-แบบที่สอง วัตถุที่ยอมให้แสงเคลื่อนที่เป็นเส้นตรงผ่านไปได้ เราเรียกว่า วัตถุโปร่งใส
อีกแบบเป็นวัตถุที่ดูดกลืนแสงที่ผ่านเข้าไปในวัตถุได้หมด และไม่มีแสงทะลุผ่านออกมาเลย เราเรียกว่า วัตถุทึบแสง
วัตถุโปร่งแสงกับวัตถุโปร่งใส ต่างกันคือ วัตถุโปร่งแสง แสงทะลุไปได้บางส่วน เช่น กระจกฝ่า วัตถุโปร่งใสแสงผ่านไปได้ทั้งหมด เห็นได้ชัดเจน เช่น กระจกใส
การเคลื่อนที่เป็นเส้นตรงนำมาใช้กับการฉายภาพ
การทดลอง การสะท้อนของแสง
-ไฟฉาย
-กระจกเงา
วางกระจกไว้บนพื้นแล้วส่องไฟฉายเป็นเส้นตรง แสงก็จะสะท้อนกลับมาเป็นเส้นตรงจากนั้นลองส่องไฟฉายไปแนวเฉียง แสงที่ฉายไปก็จะฉายไปฝั่งตรงข้ามกับแสงที่เราฉาย
การหักเหของแสง แสงจะเปลี่ยนทิศทางในการเคลื่อนที่
ตัวอย่าง ฉายแสงผ่านน้ำไปตรงๆ แสงก็จะเป็นเส้นตรง
การทดลอง การอ่านหนังสือผ่านแก้วน้ำ
แก้วใหญ่ใบใหญ่ใส่น้ำให้เต็มนำข้อความมาแก้วน้ำ ตัวหนังสือจะใหญ่กว่าปกติเพราะ การหักเหของแสงทำให้แสงส่องเข้าไปข้างใน หักเหและกระจายออก
รุ้งกินน้ำ
แม่สีทั้ง 7 เมื่อรวมกันแล้วก็จะเป็นสีขาว
การทดลอง เรื่อง รุ้งกินน้ำ
-อ่างแก้วน้ำเล็กๆใส่น้ำลงไป
-กระจกเงาแผ่นเล็กๆ
-กระบอกฉีดน้ำ หันหลังให้แสงอาทิตย์แล้วใช้กระบอกฉีดน้ำฉีดน้ำ เราก็จะเห็นรุ้งกินน้ำ

วันพุธที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2554

ครั้งที่9

วันอังคารที่ 30 สิงหาคม 2554
ส่งงานวิทยาศาสตร์ 3 ชิ้นงาน
1 งานแผ่นป้ายเรื่องเหล้า
2 งานประดิษฐ์ขวดวิทยาศาสตร์
3 ส่งโครงการ

วิทยาศาสตร์เรื่อง ขวด
1 สิ่งรอบตัว-ขวด ->หาง่าย
->เหลือใช้->ประโยชน์ -> ขายมีรายได้ -โครงการ
-> กลับมาใช้ไดอีก-เปลี่ยนแปลง คุณสมบัติเดิม
ผลกระทบ->ขยะ-ลักษณะย่อยยาก
-> สภาพแวดล้อม-> ในดิน->ปัญหากับการเพาะปลูก
->สิ่งมีชีวิตในดิน
->การไหลกับของน้ำ
แบบโครงการเด็กได้ศึกษาแบบลุ่มลึก แบบโครงการมี 3ระยะ
1 ระยะเริ่มต้น->นำเสนอ-บอก-เขียน(ชื่อ)/สิ่งที่เด็กบอก-โหวตเลือก-เครื่องหมาย/กำกับด้วยตัวเลข
->เด็กอยากรู้อะไร-บอก-เขียน(ชื่อ)-สิ่งที่เด็กอยากรู้
->เราจะทำกิจกรรม->สถานที่-> สถานที่จริง /ห้องสมุด
->ใคร->ผู้ที่เกี่ยวข้อง/ผู้ผลิต/ช่างซ่อม
->กิจกรรม->แต่งเพลง/แต่งคำกลอน/แต่งนิทาน/ประดิษฐ์/นิทรรศการ/หนังการ์ตูน/ทดลอง/การเดินทาง
2 ศึกษาแบบลุ่มลึก
3 นำเสนอ

ครั้งที่8

วันอังคารที่ 23 สิงหาคม 2554

กิจกรรม
-มีการปฎิบัติ ได้แก่ การใช้ตาดู หูฟัง กายสัมผัส ลิ้นชิ้มรส จมูกดมกลิ่น
1หลักการ ทฤษฎี ->จอนห์ ดิวอี้ ->พัฒนาการ
2หลากหลาย -สื่อ เครื่องมือที่ใช้
-วิธีการเทคนิค->โครงการ
->เชิงปฎิบัติ ->ตั้งสมมุติฐาน
->ปฎิบัติ
->สังเกต บันทึก
-ขั้นตอน
3ระยะเวลา
4การวางแผน -วัตถุประสงค์-> ความคิดสร้างสรรคค์-ริ่เริ่ม
-ยืดหยุ่น
-ละเอียดลออ
-คล่องแคล่ว



สอนแบบโครงการการ


อยากรู้เรื่องอะไร.....


ตัวอย่าง อยากรู้เรื่องกระเป๋า



กระเป๋า



1มีสีอะไร


2มีรูปทรงอย่างไร


3มีขนาด


4ราคาเท่าไหร่


5มีขายที่ไหน


6ทำมาจากอะไร


7มีประเภทไหนบ้าง


8ถ้าขาดแล้วทำอย่างไร
9วัสดุที่ใช้


10ประโยชย์



สถานที่
1 ห้องสมุด / อินเตอร์เน็ต
2 ร้านขายกระเป๋า
3 ร้านซ่อมกระเป๋า
4 ช่างซ่อมกระเป๋า
5 โรงงานผลิต



วิธีการไปแหล่งเรียนรู้ -นั่งรถ/เดิน





นำเสนอ



1 จดนิทรรศการ


2 งานประดิษฐ์กระเป๋า


3 โลโก้


4 แผนที่การเดินทาง


5 ส่วนประกอบของกระเป๋า


6 ซ่อมกระเป๋าได้อย่างไร


7 นำเสนอเพลงกระเป๋า


8 นิทานกระเป๋า

วันเสาร์ที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2554

ครั้งที่ 7

วันอังคารที่ 18 สิงหาคม 2554
สรุปเนื้อหาที่เกี่ยวกับของเล่นวิทยาศาสตร์



ดูซีดีเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์



เรื่องมหัศจรรย์ของน้ำ



สิ่งต่างๆในโลกไม่ว่าจะเป็นสัตว์หรือมนุษย์ ล้วนมีน้ำเปนส่วนประกอบ



มนุษย์มีน้ำ 70 %



ผักผลไม้ 90 %



น้ำในร่างกายช่วยปรับสมดุลอุณหภูมิในร่างกาย คนเราขาดน้ำได้แค่ 3วัน



ฝนตกเกิดจากอะรัย คุณสมบัติของน้ำ ของแข็ง ของเหลว ก๊าซ



น้ำได้รับความร้อนจากดวงอาทิตย์และระเหยกลายเป็นไอแร้วกลายเป็นก้อนเมฆมากระทบกับกับความเย็นบนท้องฟ้าเกิดเป็นฝน